วันที่อบรม
ระยะเวลาการเข้าอบรม 90 วัน
E-Training
วิธีการฝึกอบรม
ผู้เข้าอบรมจะต้องเข้าอบรมจนจบหลักสูตรและผ่านเกณฑ์การประเมิน โดยมีผลคะแนนทดสอบหลังอบรม (Post Test) ไม่ต่ำกว่า 70%
ค่าธรรมเนียม (ไม่รวม VAT)
3,500 บาท
สถาบันจดทะเบียนในนามมูลนิธิ จึงได้รับยกเว้นการหักภาษี ณ ที่จ่าย 3%
เทคนิควิศวกรรมอุตสาหการ (IE Techniques) เป็นกลุ่มของเทคนิควิธีที่มุ่งขจัดความสูญเสียต่างๆ ที่เกิดในกระบวนการผลิตและปรับปรุงกระบวนการ วิธีการทำงานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ตั้งแต่ในส่วนของการออกแบบผลิตภัณฑ์ การวิจัย การดำเนินงานการวางแผน และควบคุมการผลิต การวางผังโรงงาน การศึกษาวิธีการทำงาน การวัดผลงาน เป็นต้นเทคนิควิศวกรรมอุตสาหการ เป็นหลักสูตรในการเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการปรับปรุงกระบวนการ โดยเน้นด้านการศึกษาวิธีการทำงาน การวิเคราะห์เพื่อการปรับปรุง ตลอดจนเทคนิคการวัดผลงาน เพื่อหาเวลามาตรฐานในการทำงาน
วัตถุประสงค์
- เข้าใจความหมาย และความสำคัญของการเพิ่มผลผลิต
- รู้จักความสูญเสียต่างๆ ในกระบวนการผลิต
- รู้จักเทคนิค IE ชนิดต่างๆ และนำไปปรับใช้ในหน่วยงานได้
- เรียนรู้ในเรื่อง Method Study และ Work Measurement
เหมาะสำหรับ
- พนักงานระดับปฏิบัติการ
- หัวหน้า ผู้จัดการ
- บุคคลทั่วไปที่สนใจ
วิทยากร:
คุณเกียรติขจร โฆมานะสิน
วิทยากรและที่ปรึกษาด้านการวางแผนกลยุทธ์การผลิต การปรับปรุงกระบวนการทำงาน และยกระดับผลิตภาพองค์กรด้วย Lean
เกณฑ์ได้รับใบรับรองการฝึกอบรมด้วยระบบ e-Training
- ผู้เข้าอบรมจะต้องเข้าอบรมจนจบหลักสูตรและผ่านเกณฑ์การประเมิน โดยมีผลคะแนนทดสอบหลังอบรม (Post Test) ไม่ต่ำกว่า 70%
ระยะเวลาการเข้าอบรมด้วยระบบ e-Training
- ผู้เข้าอบรมมีระยะเวลาการเข้าอบรม 90 วัน นับจากวันที่ผู้เข้าอบรมแจ้งกำหนดวันเริ่มอบรมในระบบ Password ผู้เข้าอบรมสามารถเปลี่ยนรหัสผ่านในระบบเองได้
วิธีการเปลี่ยนรหัสผ่าน
- เข้าระบบ e-Training วางเม้าส์ที่ชื่อผู้เข้าอบรม คลิก รายละเอียดบัญชี เพื่อเปลี่ยนรหัสผ่าน
ค่าธรรมเนียม | |
ท่านละ (ก่อน VAT 7%) |
3,500 บาท
|
ท่านละ (รวม VAT 7%) |
3,745 บาท
|
หัวข้อบรรยาย
หัวข้อบรรยาย | เวลา |
การเพิ่มผลผลิตด้วยเทคนิควิศวกรรมอุตสาหการ | 6 |
ความหมายของ IE และเทคนิค IE ที่สำคัญ | 4 |
ความหมายของ Work Study และการจำแนกกิจกรรมการปฏิบัติงานในมุมมอง IE | 5 |
ความสูญเปล่า 8 ประการ (8 Wastes) | 8 |
องค์ประกอบและวัตถุประสงค์ของ Work Study | 5 |
ขั้นตอนพื้นฐานของ Method Study | 4 |
แนวคิดในการปรับปรุงงาน | 8 |
เทคนิค ECRS และตัวอย่าง | 3 |
การวิเคราะห์กระบวนการผลิตด้วย Flow Process Chart | 7 |
การวิเคราะห์กระบวนการผลิตด้วย Flow Diagram | 2 |
หลักการปรับปรุง Flow Diagram | 7 |
การจัดสายการผลิตที่สมดุล | 5 |
การจัดสมดุลการผลิตโดยใช้ LINE BALANCING CHART | 6 |
การจัดสมดุลการผลิตโดยใช้ LINE BALANCING CHART | 4 |
การจัดสมดุลการผลิตโดยใช้ LINE BALANCING CHART | 9 |
การเพิ่มประสิทธิภาพระหว่างพนักงานกับเครื่องจักรด้วย Man-Machine Chart | 6 |
การเพิ่มประสิทธิภาพระหว่างพนักงานกับเครื่องจักรด้วย Man-Machine Chart | 3 |
การเพิ่มประสิทธิภาพระหว่างพนักงานด้วย Multiple activity chart | 7 |
การวิเคราะห์และปรับปรุงการเคลื่อนไหว (Motion Analysis) | 6 |
การวิเคราะห์และปรับปรุงการเคลื่อนไหว (Motion Analysis) | 5 |
– ตัวอย่างที่ 1 หลักการใช้โครงร่างมนุษย์ (Pin Board) | 2 |
การวิเคราะห์และปรับปรุงการเคลื่อนไหว (Motion Analysis) | 8 |
– ตัวอย่างที่ 2 หลักการใช้โครงร่างมนุษย์ (Pin Board) | 1 |
การวัดผลงาน (Work Measurement) | 4 |
การวัดผลงาน (Work Measurement) | 3 |
การวัดผลงาน (Work Measurement) | 3 |
การวัดผลงาน (Work Measurement) | 4 |
การวัดผลงาน (Work Measurement) | 3 |
การวัดผลงาน (Work Measurement) | 3 |
การวัดผลงาน (Work Measurement) | 5 |
การวัดผลงาน (Work Measurement) | 3 |
การวัดผลงาน (Work Measurement) | 6 |
การวัดผลงาน (Work Measurement) | 7 |
การวัดผลงาน (Work Measurement) | 3 |
สรุปเนื้อหา | 5 |
เวลาเรียนโดยรวม 2 ชั่วโมง 47 นาที