วันที่อบรม
ระยะเวลาการเข้าอบรม 90 วัน
E-Training
วิธีการฝึกอบรม
- บรรยาย
- อภิปราย
- ฝึกปฏิบัติ
ค่าธรรมเนียม (ไม่รวม VAT)
3,500 บาท
สถาบันจดทะเบียนในนามมูลนิธิ จึงได้รับยกเว้นการหักภาษี ณ ที่จ่าย 3%
วัตถุประสงค์
- เพื่อให้เข้าใจหลักการสร้างคุณค่าให้กับลูกค้าตลอดกระบวนการด้วย VSM
- สามารถจัดทำ VSM รวมทั้งวิเคราะห์กระบวนการเพื่อระบุจุดปรับปรุง
- สามารถนำแนวทาง Lean Toolbox ไปใช้ในปรับปรุงกระบวนการทำงาน
- ได้เรียนรู้ตัวอย่าง Lean Roadmap ในการพัฒนากระบวนการตามแนวคิด Lean
หลักสูตรเหมาะสำหรับ
- องค์กรที่มีการปรับปรุงกระบวนการทำงานขั้นพื้นฐานมาแล้ว และต้องการยกระดับผลิตภาพให้สูงขึ้น มุ่งเน้นที่จะสร้างคุณค่าให้แก่ลูกค้า (Customer Value) ตลอดกระบวนการ โดยการกำจัดกระบวนการที่ไม่สร้างคุณค่า (Non Value Added Work) ผ่านชุดเครื่องมือของลีน Lean Toolbox
- Manufacturing ที่ต้องการปรับปรุงประสิทธิภาพตลอดกระบวนการหลัก เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า และสร้างความสามารถในการแข่งขัน
ผู้เชี่ยวชาญ
อ.เกียรติขจร โฆมานะสิน
ผู้เชี่ยวชาญและที่ปรึกษาด้าน Productivity
ผู้เชี่ยวชาญและที่ปรึกษาด้าน Productivity
ความเชี่ยวชาญ
- Lean Implementation in Manufacturing
- Lean Implementation in Service Sector
ผลงานทางวิชาการ
- หนังสือ Lean วิถีแห่งการสร้างคุณค่าสู่องค์กรที่เป็นเลิศ, 2550, สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
- Hybrid Push-Pull Production System, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หัวข้ออบรม
Module 1: Value Added & Non Value Added Work
- แนะนำเนื้อหาในหลักสูตร
- นิยามและหลักการ 5 ประการของ Lean
- การจำแนกประเภทกิจกรรมตามแนวคิด Lean
- คุณค่า (Values)
- ความสูญเปล่า (Wastes)
- แนวคิดเพิ่มเติมและผลการปรับปรุงตามแนวทางของ Lean
Module 2: Value Stream Mapping (VSM)
Module 2 Part 1: แนวคิดพื้นฐานของ VSM
- แนวคิดพื้นฐานในการปรับปรุงองค์กร
- Value Stream Mapping (VSM)
- การแบ่งระดับและภาพรวมในการใช้ VSM
- การกำหนดตัวชี้วัดผลของ Lean (Lean Metrics)
Module 2 Part 2: Current State VSM
- ขั้นตอนการจัดทำ Current State VSM
- การจัดกลุ่มแผนภาพกระแสคุณค่า
- การรวบรวมข้อมูลต่างๆ จากผู้เกี่ยวข้องและการลงสำรวจพื้นที่
- การตรวจสอบและทำความเข้าใจข้อมูลที่รวบรวมมา
- การระบุลำดับการจัดเรียงของกระบวนการ
- การวาดเส้นทางการไหลของชิ้นงาน
- การวาดเส้นทางการไหลของสารสนเทศ
- การบันทึกรายละเอียดและข้อมูลต่างๆ ภายในกระบวนการ
- สรุปและวิเคราะห์ภาพรวมและตัวอย่างการระบุจุดปรับปรุงของ VSM
Module 2 Part 3: Future State VSM
- หลักการปรับปรุงกระบวนการ ขั้นตอนการจัดทำ Future State-VSM และสัญลักษณ์ต่างๆของ VSM
- ความหมายสัญลักษณ์ต่างๆ ของ VSM
- คัมบัง (Kanban)
- การปรับเรียบการผลิต (Heijunka – Load Leveling)
- ตัวอย่าง Future State VSM
Module 3: Lean Toolbox
- Part 1: How to Improve the Lean process
- Part 2: Stability – Workplace Management
- Part 3: Stability – Machine Management
- Part 4: Stability – Quality Management
- Part 5: Stability – Production Management
- Part 6: Standardization
- Part 7: Simplification
- Part 8: Roadmap to Lean
เกณฑ์ได้รับใบรับรองการฝึกอบรมด้วยระบบ e-Training
- ผู้เข้าอบรมจะต้องเข้าอบรมจนจบหลักสูตรและผ่านเกณฑ์การประเมิน โดยมีผลคะแนนทดสอบหลังอบรม (Post Test) ไม่ต่ำกว่า 75%
ระยะเวลาการเข้าอบรมด้วยระบบ e-Training
- ผู้เข้าอบรมมีระยะเวลาการเข้าอบรม 90 วัน นับจากวันที่ผู้เข้าอบรมแจ้งกำหนดวันเริ่มอบรมในระบบ
- Password ผู้เข้าอบรมสามารถเปลี่ยนรหัสผ่านในระบบเองได้
วิธีการเปลี่ยนรหัสผ่าน
เข้าระบบ e-Training วางเม้าส์ที่ชื่อผู้เข้าอบรม คลิก รายละเอียดบัญชี เพื่อเปลี่ยนรหัสผ่าน
ราคา 3,500 บาท (ไม่รวม Vat)
เวลาเรียนโดยรวม 3 ชั่วโมง 47 นาที
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
ฝ่ายพัฒนาศักยภาพ สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
โทรศัพท์ 02-619-5500 ต่อ 452-458 (นันทนา , ศิริชัย , นิรันดร์ , เอราวรรณ)
E-mail : training@ftpi.or.th
โทรศัพท์ 02-619-5500 ต่อ 452-458 (นันทนา , ศิริชัย , นิรันดร์ , เอราวรรณ)
E-mail : training@ftpi.or.th
วิทยากร